สัตว์สูญพันธุ์ ฟื้นคืนชีพ ให้กลับมามีชีวิต โดยเทคโนโลยี ในยุคปัจจุบัน

สัตว์สูญพันธุ์ ฟื้นคืนชีพ

สัตว์สูญพันธุ์ ฟื้นคืนชีพ ทางบริษัท International Union for Conservation of Nature ได้ออกแถลงการณ์เมื่อต้นปีนี้ว่า ทุกปีจะมีสิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สูญพันธ์ไปมากถึง 30,000 สปีชีส์ คือ ประมาณวันละ 150 สปีชีส์ และนับตั้งแต่ปี 1990 เป็นต้นมา จำนวนสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตท้องถิ่นทั่วโลก ได้ลดจำนวนลงถึง 20% ทุกปี เหตุการณ์นี้ได้จุดประกายให้บริษัท Colossal Biosciences แห่ง Texas เริ่มดำเนินโครงการคืนชีพสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว และได้เริ่มรับเงินบริจาคมาเพื่อการนี้แล้วถึง 225 ล้านเหรียญ แม้บริษัทจะทำอะไรยังไม่ได้มาก อย่างที่ทุกคนคาดหวัง เพราะต้องเผชิญการต่อต้านมาก ด้วยเหตุผลว่าการฟื้นคืนชีพ สัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว นอกจากจะเป็นเรื่อง ที่ทำได้ยากมากแล้ว ยังเป็นงานที่ ต้องลงทุนมากด้วย และการฟื้นคืนชีพมันขึ้นมา อีกก็ใช่ว่าจะได้สัตว์เหมือนเดิม 100% เพราะคนสร้างสัตว์ให้กลับมามีชีวิต ใหม่จำเป็นต้องเนรมิตสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมให้มันด้วย เพื่อจะได้มีชีวิตอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งจะต้องปกป้องมันมิให้ศัตรูมาปองร้าย และเมื่อสภาพภาวะดินฟ้าอากาศ ณ วันนี้และในอนาคตจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงมาก การทำทุกสิ่งทุกอย่างให้กลับมามีสภาพเหมือนเดิม จึงเป็นเรื่องที่สิ้นเปลืองมาก นอกจากเหตุผลเหล่านี้แล้ว โลกก็มีสัตว์ที่กำลังจะสูญพันธุ์อีกหลายต่อหลายสปีชีส์ ความพยายามของนักอนุรักษ์สัตว์จึงน่าจะทุ่มเทไปที่การพิทักษ์สัตว์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์มากกว่า แทนที่จะทุ่มเทไปที่เทคโนโลยีทิพย์ ซึ่งยังไม่มีอะไรการันตีว่า จะทำได้ 100% เต็ม

เกาะแทสมาเนีย ประเทศออสเตรเลีย ได้พยายามจะค้นหาสัตว์สูญพันธุ์ ประเภทเสือชนิดหนึ่ง เช่นกัน เพราะได้มีการพบว่า เสือแทสมาเนีย ( เกร็ดความรู้ สั้นๆ) เคยอาศัยอยู่บนทวีปเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อน และได้ถูกกำจัดจนสูญพันธุ์ไป โดยสุนัขป่า แต่มันก็สามารถใช้ชีวิต อยู่ต่อไปบนเกาะ Tasmania และเสือ Tasmania ตัวสุดท้ายของโลก ได้ตายไปในสวนสัตว์ที่เมือง Hobart เมื่อปี 1936 หลังจากที่รัฐบาล Tasmania ได้ออกกฎหมาย ห้ามล่ามันเพียง 59 วัน เมื่อนักเดินทางชาวยุโรป อพยพมาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลียใหม่ ๆ เสือ Tasmania หรือที่เรียกชื่อทั่วไปว่า thylacine ก็ได้มีชื่อเสียงว่า เป็นสัตว์ลึกลับที่ชอบหลบซ่อนตัวในป่า ไม่ให้ใครได้เห็น ในปี 1820 ชาวออสเตรเลียท้องถิ่น ได้รายงานการเห็นตัว thylacine เพียง 4 ตัวเท่านั้นเอง ต่อมา เมื่อมีการนำแกะจำนวนมาก มาเลี้ยงบนเกาะ เหตุการณ์นี้ได้ทำให้ thylacine มีอาหารเพิ่มขึ้น อย่างอุดมสมบูรณ์ เกร็ดความรู้ สั้นๆ มันจึงได้กลายเป็นศัตรู ของคนเลี้ยงแกะไปโดยปริยาย เพราะใคร ๆ ก็ไม่ชอบการเข้ามา ลอบฆ่าแกะของมัน แล้วหลังจากนั้น เสือ Tasmania ก็ได้เริ่มเดินทางไปตามถนนแห่งการสูญพันธุ์ โดยในปี 1830 รัฐบาลได้ออกกฎหมายมอบรางวัล 1 ปอนด์สำหรับซาก thylacine ทุกตัวที่ถูกฆ่า การใช้กฎหมายนี้เป็นเวลานาน 24 ปี ระหว่างปี 1888 กับปี 1912 ทำให้รัฐบาลได้ซากเสือ Tasmania ประมาณ 2,184 ตัว การถูกล่า การล้มตายเพราะโรคระบาด และการแย่งอาหารกับสัตว์ชนิดอื่น ๆ ได้ทำให้จำนวนประชากร thylacine ลดลงมากจนใกล้สูญพันธุ์

โดยเทคนิคที่จะใช้ในการฟื้นคืนชีพ thylacine ตามความคิดของ Hugh Tyndale-Biscoe แห่ง Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation (CSIRO)

ที่ Canberra คือ จะต้องรู้ลำดับพันธุกรรม ทั้งหมดของ thylacine ซึ่งต้องใช้เงินหลายล้านดอลลาร์ และใช้เวลาในการตัดต่อยีน สัตว์สูญพันธุ์ ฟื้นคืนชีพ โดยการนำเซลล์บริสุทธิ์ ของสัตว์

ที่สูญพันธุ์ ซึ่งไม่ปนเปื้อนหรือเสื่อมสลาย เพราะถูกทำลายด้วยสิ่งแวดล้อม หรืออาจะนำมันมาจากบริเวณที่มี อุณหภูมิต่ำมาก จนซากอยู่ในสภาพแช่เข็ง จากนั้นก็จะต้องหาเซลล์อุ้มบุญ โดยนำ

นิวเคลียสของสัตว์ ที่สูญพันธุ์ไปใส่ ในเซลล์ของสัตว์สปีชีส์อื่น ที่มีสายพันธุ์ใกล้เคียง กัน แต่เซลล์อุ้มบุญจะต้องไม่มีนิวเคลียส จากนั้นก็กระตุ้นเซลล์ใหม่ ให้แบ่งตัว จนได้ตัวอ่อน

okคาสิโนออนไลน์ ที่สามารถดำรงชีพต่อไปได้ ไม่ว่ามันจะอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่ไม่เอื้อยอำนวยก็ตาม แล้วนำตัวอ่อนไปถ่ายลงในไข่ของสัตว์อุ้มบุญ เพื่อให้มันพัฒนาเป็นตัวอ่อน ของสัตว์

ที่สูญพันธุ์ต่อไป กระนั้นก็ไม่มีใครรู้ว่า เนื้อเยื่อของ Tasmanian devil จะมีปฏิสัมพันธ์กับตัวอ่อน thylacine อย่างไร และนั่นก็หมายความว่า เราจะได้สัตว์คล้าย thylacine แต่ไม่ใช่ตัว

thylacine จริงๆ หนทางสร้างสัตว์ ที่สูญพันธ์ไปแล้วยังอยู่อีกไกล แต่ก่อนจะถึงวันนั้น นักวิทยาศาสตร์ ก็จะต้องพยายามต่อไป และต้องรู้ด้วยว่าสัตว์ ที่สร้างจะเป็นชนิดใหม่ที่อาจจะไม่เหมือนเดิมเลยก็ได้

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *